กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์ โดย
ดร. อิงเหวย หวัง
สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
บทนำ
ข้อเสนอการยกเลิกการใช้สารไครโซไทล์
เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแนวทางในการห้ามนาเข้าแร่ใยหินไครโซไทล์ และผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์เฉพาะกรณี และห้ามผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์โดยให้ใช้วัตถุดิบอื่นหรือผลิตภัณฑ์อื่นทดแทนได้
อย่างไรก็ตาม
ณ ปัจจุบัน ยังไม่พบหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ หรือผลวิจัยทางการแพทย์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวในประเทศไทย
ยังไม่พบรายงานผลกระทบด้านสุขภาพในผู้ใช้แรงงานและผู้บริโภคในประเทศไทย
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เพื่อศึกษาผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจจากการยกเลิกการใช้แร่ใยหินไครโซไทล์ในกระเบื้องไฟเบอร์ซีเมนต์ที่มีความหนาแน่นสูง
เพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยรวมและค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยมุ่งคานึงถึงสภาวะภายหลังการยกเลิกผลิตภัณฑ์ที่มีแร่ใยหินไครโซไทล์เป็นส่วนประกอบ
ให้ข้อเสนอแนะเพื่อให้มีการบังคับใช้นโยบายเกี่ยวกับการใช้แร่ใยหินไครโซไทล์ในประเทศไทย อย่างมีประสิทธิภาพ
แร่ใยหินไครโซไทล์
สารไครโซไทล์เป็นแร่ใยหินชนิดหนึ่งที่มีการใช้อย่างแพร่หลายโดยใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมหลายชนิด
สารไครโซไทล์ถูกจัดอยู่ในกลุ่มเซอเปนไทน์ ซึ่งยังไม่ปรากฏการห้ามใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา บราซิล รัสเซีย อินเดีย และในอีกหลายประเทศ
แร่ใยหินไครโซไทล์ในประเทศไทย
ในกระบวนการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม •ร้อยละ 90 ของแร่ใยหินไครโซไทล์ที่ถูกนาเข้ามาในประเทศ ถูกใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง เป็นวัตถุดิบในการผลิตผลิตภัณฑ์ซีเมนต์ที่มีความหนาแน่นสูง •ร้อยละ 6-8 ของแร่ใยหินไครโซไทล์ที่ถูกนาเข้ามาในประเทศ ถูกใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นวัตถุดิบในการผลิตผ้าเบรกและคลัทซ์ •ร้อยละ 2 ของแร่ใยหินไครโซไทล์ที่ถูกนาเข้ามาในประเทศ ถูกใช้ในการผลิตวงแหวนอัดลูกสูบ วัสดุที่เป็นฉนวนป้องกันความร้อน และชุดผจญเพลิง • มีการใช้กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์ในประเทศไทยมานานกว่า 50 ปี โดยมี มูลค่าทางการตลาดรวมในปี 2553 มากกว่า 10,400 ล้านบาท หรือ ประมาณร้อยละ 0.2 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP)
กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์ในประเทศไทย
กระเบื้องใยหินมีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศไทยโดยเฉพาะในชนบทและต่างจังหวัด ซึ่งผู้ใช้ระบุว่าผลิตภัณฑ์ในกลุ่มดังกล่าวมีราคาถูก ทนทาน และเหมาะกับสภาพอากาศของประเทศไทย
อุตสาหกรรมบางประเภท เช่น ฟาร์มสุกร ต้องใช้กระเบื้องที่มีแร่ใยหินเป็นส่วนประกอบในการสร้างโรงเลี้ยงสุกร
แร่ใยหินไครโซไทล์ไม่ทาปฏิกิริยากับก๊าซมีเทนอันเกิดจากมูลสัตว์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ในอุตสาหกรรมฟาร์มสุกร
เมื่อพิจารณาขนาดของตลาดโดยรวม ปริมาณการนาเข้าแร่ใยหินไครโซไทล์ในประเทศไทย ใน 25 ปีที่ผ่านมา คิดเป็นปริมาณมากกว่า 3.2 ล้านตัน ในระหว่างปี พ.ศ. 2528 ถึง พ.ศ. 2553 •คิดเป็นปริมาณการผลิตในอุตสาหกรรมกระเบื้องมุงหลังคามากกว่า 2.3 พันล้าน ตารางเมตร
ที่มา : กรมศุลกากร, สถิติการนาเข้าและส่งออก; Virta ( 2549 )
คุณสมบัติของวัสดุที่ มีแร่ใยหินไครโซไทล์ เป็นส่วนประกอบ
คุณภาพและความทนทาน
ข้อพิจารณาด้านคุณภาพและความทนทานเป็นเรื่องที่สาคัญในประเทศไทย •กระเบื้องใยหินไครโซไทล์ผลิตด้วยพอรท์แลนด์ซีเมนต์ (Portland cement) ประกอบกับเส้นใยหินไครโซไทล์ เป็นที่ยอมรับกันว่าทนต่อความร้อนและมีความแข็งแรงสูง มีขนาดใหญ่แต่น้าหนักเบา จึงทาให้ผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการสาหรับผู้บริโภคที่มีรายได้ต่าถึงปานกลาง
กระเบื้องปลอดใยหินผลิตจากเส้นใยเซลลูโลสซึ่งมีคุณสมบัติดูดซับและกักขังน้า ซึ่งทาให้เกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับความทนทานของผลิตภัณฑ์ หากต้องเจอกับภาวะฝนตกหนัก
การเปลี่ยนกระเบื้องปลอดใยหินเป็นเรื่องยาก เนื่องจากกระเบื้องปลอดใยหินที่ผ่านการใช้งานมักชารุดทรุดโทรม ทาให้งานซ่อมแซมมีความยุ่งยากซับซ้อนและอันตรายยิ่งขึ้น
การเปรียบเทียบกระเบื้องปลอดใยหินและกระเบื้องที่มีแร่ใยหิน ไครโซไทล์เป็นส่วนประกอบ
จากการทดสอบคุณสมบัติของกระเบื้องปลอดใยหินและกระเบื้องที่มีแร่ใยหินไครโซไทล์เป็นส่วนประกอบ ซึ่งจัดทาโดยภาควิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่า
กระเบื้องปลอดใยหินมีความสามารถต้านทานการแตกหักต่ากว่ากระเบื้องใยหินประมาณ 3 เท่า
เมื่อผ่านการทดสอบไปสักระยะ กระเบื้องปลอดใยหินมีรอยน้าซึมที่ผิวล่างในขณะที่กระเบื้องใยหินไม่มีรอยรั่วซึมแต่อย่างใด
ความทนความร้อน / ฝน ของกระเบื้องใยหินอยู่ในระดับสูงกว่ากระเบื้องปลอดใยหิน
เมื่อถูกความร้อนและฝน กระเบื้องปลอดใยหินเกิดการแตกร้าวหลายจุด ตามแนวยาวและแนวขวาง ในขณะที่กระเบื้องใยหินไม่มีรอยแตกใดๆ เกิดขึ้น
อายุการใช้งานของกระเบื้องปลอดแร่ใยหิน
จากการสัมภาษณ์ กระเบื้องปลอดใยหินมีอายุการใช้งานระหว่าง 2 – 8 ปี
กระเบื้องปลอดใยหินใช้สาร PVA แทนแร่ใยหินไครโซไทล์เป็นส่วนประกอบ •ราคาของสาร PVA ขึ้นอยู่กับราคาน้ามันซึ่งมีความผันผวนสูง ทาให้สาร PVA และกระเบื้องปลอดใยหินมีราคาสูง
ด้วยคุณภาพที่แตกต่างระหว่างกระเบื้องใยหินและ กระเบื้องปลอดใยหิน จึงมีความจาเป็นที่รัฐบาลและภาคเอกชนจะต้องพัฒนาสารทดแทนที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกัน ทั้งในเชิงคุณภาพและราคา ก่อนที่จะมีมาตรการยกเลิกผลิตภัณฑ์กระเบื้องใยหิน
ผลกระทบ ทางเศรษฐกิจ
ผลกระทบจากการยกเลิกการใช้แร่ใยหินไครโซไทล์
ผลกระทบโดยตรง
ผลกระทบต่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมกระเบื้องใยหิน ผลกระทบต่อพนักงานในอุตสาหกรรมกระเบื้อง และผลกระทบต่อผู้บริโภค รวมถึงครัวเรือน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ
ผลกระทบโดยอ้อม
ผลกระทบต่อผู้ผลิตสินค้าและวัตถุดิบ ผู้ค้าส่ง และผู้ค้าปลีกของผลิตภัณฑ์ที่มีแร่ใยหินไครโซไทล์เป็นส่วนประกอบ
ผลกระทบต่อเนื่อง
รัฐบาลต้องรับผิดชอบในการดาเนินการเปลี่ยนกระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์ด้วยกระเบื้องปลอดแร่ใยหินไครโซไทล์ ดาเนินการประกาศต่อสาธารณชน และให้บริการข้อมูลและความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ต้องห้าม และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากคดีความ ในกรณีที่มีการเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้บริโภคที่อาจได้รับผลกระทบจากการผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์
ผลกระทบต่อผู้บริโภค
ผลกระทบต่อผู้บริโภคกลุ่มต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย ผลกระทบต่อครัวเรือน ภาคธุรกิจ (โดยใช้อุตสาหกรรมฟาร์มเลี้ยงสุกรเป็นกรณีตัวอย่าง) และภาครัฐ (โดยใช้ผลกระทบต่อโรงเรียนและโรงพยาบาลเป็นกรณีตัวอย่าง)
ค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยนกระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์คิดเป็นมูลค่าประมาณ 365,000 ล้านบาท
ผลกระทบต่อผู้ประกอบการ
สาหรับผู้ประกอบการ การเปลี่ยนมาเป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ปลอดแร่ใยหิน ต้องมีการลงทุนเพิ่มเติมเป็นมูลค่า 30 ล้านบาทต่อการติดตั้งสายการผลิตใหม่
อาจเกิดการสูญเสียตาแหน่งงานประมาณ 4,000-5,000 อัตรา
ผลกระทบโดยตรงจากการห้ามใช้แร่ใยหินไครโซไทล์
ข้อเสนอแนะ
รัฐบาลไทยควรพิจารณาอย่างถี่ถ้วน เกี่ยวกับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากข้อเสนอการยกเลิกการใช้สารไครโซไทล์ เนื่องจากข้อเสนอดังกล่าวสามารถทาให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจทั้งในระยะสั้นและในระยะยาว
รัฐบาลควรจัดให้มีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจที่มีต่อภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องรวมถึงการจัดการคุณภาพในระยะยาวเกี่ยวกับสินค้าทดแทน
รัฐบาลจาเป็นต้องพิจารณาให้ความสาคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทดแทนให้มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้นทั้งในด้านคุณภาพและความคงทน
ต้องจัดให้มีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ในกระบวนการผลิตกระเบื้องปลอดใยหิน
ขณะนี้ยังไม่ปรากฏการทดสอบหรือการวิจัยใดๆที่จะสามารถยืนยันถึงความปลอดภัยและความทนทานของวัสดุทดแทนดังกล่าวทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
เนื่องจากอาจเกิดผลกระทบทางอย่างมากต่อเศรษฐกิจหากมีการยกเลิกการใช้แร่ใยหินไครโซไทล์ ประกอบกับความไม่ทนทานและความไม่แน่นอนของสารที่ใช้ทดแทนแร่ใยหินไครโซไทล์ตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงขอเสนอให้มีมาตรการควบคุมตรวจสอบการใช้แร่ใยหินไครโซไทล์อย่างปลอดภัยแทน