Chrysotile แร่ใยหิน

เราสามารถนำแร่ไครโซไทล์มาใช้ได้อย่างปลอดภัย

ตลอดหลายปีที่ผ่านมามีตัวอย่างงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ ในหลายประเทศ ที่ชี้ให้เห็นว่าไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ เมื่อนาแร่ไครไซไทล์มาใช้ในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมระดับการสัมผัสในปัจจุบัน (≤ 1 f/cc) เราขอให้ท่านสังเกตผลการวิจัยและข้อสรุปของงานวิจัยแต่ละชิ้นว่าตรงกันอย่างไร ซึ่งเป็นเพียงงานวิจัยบางส่วนเท่านั้น ส่วนข้อสรุปของงานวิจัยบางชิ้นที่นามาอ้างอิงสามารถอ่านได้ตั้งแต่หน้า 10 เป็นต้นไป

Weill, H., uges, J. and Waggenspack, C. (1997). ผลกระทบปริมาณและชนิดเส้นใยต่อความเสี่ยงของโรคร้ายทางเดินระบบหายใจในการผลิตซีเมนต์แร่ใยหิน (Influence of dose and fibre type on respiratory malignancy risk in asbestos cement manu-facturing). American Review of Respiratory Disease 120(2): 345-354.

Thomas, H.F., Benjamin,’ I.T., Elwood, P.C. and Sweetnam, P.M. (1982).
งานวิจัยติดตามผลเพิ่มเติมในคนงานจากโรงงานซีเมนต์แร่ใยหิน (Further follow-up study of workers from and asbestos cement factory). British Journal of Industrial Medicine 39(3): 273-276.

Berry, G. and Newhouse, M.L. (1983). จานวนการเสียชีวิตของคนงานผลิตวัสดุขัดสีที่ใช้แร่ใยหิน (Mortality of workers manu-facturing friction materials using asbestos). British Journal of Industrial Medicine 40(1): 1-7.

Gardner, M.J., Winter, P.D., Pannett, B. and Powell, C.A. (1986). งานวิจัยติดตามผลเพิ่มเติมในคนงานจากโรงงานซีเมนต์แร่ใยหิน (Further follow-up study of workers from and asbestos cement factory). British Journal of Industrial Medicine 43: 726-732.

Newhouse, M.L. and Sullivan, K.R. (1989). A mortality study of workers manufacturing friction materials: 1941-86. (งานศึกษาจานวนการเสียชีวิตของคนงานผลิตวัสดุขัดสี). British Journal of Industrial Medicine 46(3): 176-179.

Liddell F.D.K., McDonald J.C. and McDonald A. (1997). The 1891-1920 birth cohort of Quebec chrysotile miners and mil-lers: Development form 1904 and mortality to 1992 (การเกิดขึ้นของคนงานเหมืองแร่และคนงานโรงถลุงแร่ไครโซไทล์ที่คิวเบกระหว่างปี 1891-1920: การพัฒนาตั้งแต่ปี 1904 และจานวนการเสียชีวิตจนถึงปี 1992). Ann. Occup. Hyg. 41:13-35.

Paustenbach D.J., Finley B.L., Lu E.T., Brorby G.P., and Sheehan P.J. (2004). Environmental and occupational health haz-ards associated with presence of asbestos in brake linings and pads (1900 to present): A “state-of-the-art view” ( อันตรายต่อสุขภาพสิ่งแวดล้อมและการทางานที่เกี่ยวกับการสัมผัสกับแร่ใยหินในผ้าเบรคและแผ่นเบรค (ปี 1900-ปัจจุบัน): การวิเคราะห์ด้วย “เทคนิควิธีการสมัยใหม่และทันสมัย”). J Toxicol Environ Health, Part B7: 33-110

Yarborough C.M. (2006). Chrysotile as a Cause of Mesothelioma: An Assessment Based on Epidemiology (ไครโซไทล์ สาเหตุของมะเร็งเยื่อหุ้มปอด: ประเมินผลด้วยวิธีการโรคระบาดวิทยา). Critical Reviews in Toxicology 36: 165-187

Mangold, C., Clark K., Mald A., and Paustenbach D. (2006). An exposure study of bystanders and workers during the in-stallation and removal of asbestos gaskets and packings (งานศึกษาการสัมผัสแร่ใยหินของคนที่อยู่ข้างเคียงและคนงานระหว่างการติดตั้งปะเก็นแร่ใยหินและการบรรจุหีบห่อ). J Occup Environ Health 3: 87-98

L. Sichletidis D., Chloros D., Spyrotos A.-B, Haidich I., Fourkiotou M. Kakoura, D., Patakas (2008). Mortality from Occupational Exposure to Relatively Pure Chrysotile: A 39-Year Study. (จานวนการเสียชีวิตจากการทางานที่สัมผัสกับไครโซไทล์ที่ค่อนข้างบริสุทธิ์: งานศึกษาที่ใช้ระยะเวลา 39 ปี). Respiration, Published Online: October 9, 2008.

http://content.karger.com/ProdukteDB/produkte.asp?Aktion=Accepted Paper&ProduktNr=224278

Please follow and like us:

ใส่ความเห็น