ความเห็นเกี่ยวกับ เรื่องมาตรการทำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน Read More
หมวดหมู่: ข้อมูลเกี่ยวกับไครโซไทล์
ข้อมูลเกี่ยวกับไครโซไทล์
ข้อมูลเชิงวิชาการเกี่ยวกับแร่ใยหินกับอุตสาหกรรมและความปลอดภัยทางสุขภาพ
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ(วช.) Read More
ปลอดภัยไว้ก่อน
สมชัย บวรกิตติ
สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน
ในบทความ “มุมมองบ้านสามย่าน” ของคุณปกรณ์ เลิศสเถียรชัย จากสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในหนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ ๑๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ หน้า ๑๑ มีข้อคิดข้อแนะนำที่ดี น่าสนใจ ผมจึงขอเขียนมาร่วมวงด้วย เพราะผมอาจถูกพาดพิง แม้ไม่ตรงเผงก็เฉียดมาก Read More
ใยหินแอมฟิโบล
ส่วนผสมของแร่/สารเคมีใยหินกลุ่มแอมฟิโบลจะซับซ้อนกว่าของใยหินเซอร์เพนไทน์ สำหรับสูตรส่วนผสมของใยหินในกลุ่มนี้ทั้ง 5 ชนิด ดังแสดงในตารางข้างใต้ ในกลุ่มนี้โครงสร้างของเส้นใยจะเหมือนกัน แต่ส่วนผสมทางเคมีจะไม่เหมือนกันเนื่องจากแร่ซิลิเกตจะสามารถเกิดการรวมตัว/ผสมกันของอนุภาคได้หลายแบบ (ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลัก) แล้วแต่แนวของซิลิเกตซึ่งเส้นใยเกิดขึ้น (Speil & Leineweber, 1969) Read More
ข้อเท็จจริง
ปัจจุบันผู้คนทั่วโลกเรียกร้องให้เลิกใช้ใยหิน ดังนั้นจึงไม่ควรขัดขืน รวมทั้งบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิก็เรียกร้องให้เลิกใช้ด้วยเช่นกัน
บุคคลกลุ่มนี้เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์อันสั้น วัตถุประสงค์ย่อมสั้นตาม เหตุผลที่ยกมาอ้างก็สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของตน จะอ้างว่าตนเป็นตัวแทนของบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิและองค์กร/สถาบันระดับสากลไม่ได้ เหตุใด Read More
ทราบหรือไม่ว่า
1. ในประเทศไทยผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใยหินเป็นส่วนผสมคือเส้นใยไครโซไทล์เท่านั้น
2. ปริมาณเส้นใยไครโซไทล์ในซีเมนต์จะเพียง8-9% และฝังอยู่ในเนื้อซีเมนต์ไม่ฟุ้งกระจายออกมาภายนอก Read More
ข้อมูลสถิติ VS การรับรู้
แนวคิดค่าเริ่มต้น…
งานศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์มักอ้างอิงถึงระดับการสัมผัสที่ต่ากว่าระดับที่ไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ นักรณรงค์การห้ามใช้แร่ใยหินบางคนปฏิเสธที่รับรู้ข้อเท็จจริงนี้ และไม่ยอมรับความจริงเรื่องระดับความเข้มข้นและชนิดของแร่ใยหิน แต่สรุปความเห็นเอาเองว่าความเสี่ยงนั้นเท่าๆกัน ซึ่งขัดแย้งกับความคิดเห็นที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง
ตามที่ระบุในงานศึกษาวิจัยด้านโรคระบาดวิทยา รวมทั้งงานวิจัยที่ได้ระบุไว้ข้างต้นนี้ คนงานที่สัมผัสกับไครโซไทล์ที่ประมาณ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. นั้นไม่มีความเสี่ยง ถ้าปฏิบัติตามมาตรฐานนี้ ไครโซไทล์นั้นไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ Read More
งานศึกษาวิจัยชิ้นต่างๆที่ได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้วในช่วงประมาณสามสิบปี ต่างสรุปว่าไม่สามารถวัดระดับความเสี่ยง ที่เกิดจากการใช้ไครโซไทล์ได้
งานศึกษาวิจัยชิ้นต่างๆที่ได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้วในช่วงประมาณสามสิบปี ต่างสรุปว่าไม่สามารถวัดระดับความเสี่ยง ที่เกิดจากการใช้ไครโซไทล์ได้ เมื่อระดับความเข้มข้นในอากาศอยู่ในระดับมาตรฐาน คือ ≤ 1 เส้นใย / ลบ.ซม. (≤ 1FIBER /CC)
ซึ่งข้อสรุปของนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน Read More
คำทำนายของจูเลี่ยน เพโต (JULIAN PETO) และ การตอบโต้คำทำนาย
จูเลี่ยน เพโต เป็นนักวิชาการโรคระบาดวิทยาชาวอังกฤษ ซึ่งในปี 1995 ได้ทาการประเมินทางสถิติถึงตัวเลขการเสียชีวิตอันเนื่องมาจากการเกี่ยวพันกับแร่ใยหิน โดยพิจารณาจากข้อมูลที่มีความสับสนมาก แต่ได้สร้างความกังวลไปทั่วโลกการประเมินได้เหมารวมแร่ใยหินทุกชนิดไว้ด้วยกัน โดยไม่ได้พิจารณาระดับความเสี่ยงของไครโซไทล์ ซึ่งมีการพิสูจน์อย่างน่าเชื่อถือแล้วว่าอยู่ในระดับที่ไม่มีความเสี่ยง คือ ต่ากว่า 1 เส้นใย/ลบ.ซม (1 f/cc.)
เสียชีวิต 100,000” สองถ้อยคำที่ทำลายอุตสาหกรรมไครไซไทล์
เสียชีวิต 100,000” สองถ้อยคำที่ทำลายอุตสาหกรรมไครไซไทล์ Read More