ข้อมูลที่จงใจนามาอ้างอิงไม่ครบ
- กว่า 125 ล้านคนสัมผัสกับแร่ใยหินในสถานที่ทางาน จากการประเมินต่างๆ ในแต่ละปี ประชาชนอย่างน้อย 90,000 คน เสียชีวิตจากโรคมะเร็งที่แร่ใยหินนั้นมีส่วนมาเกี่ยวข้อง Read More
ข้อมูลเกี่ยวกับไครโซไทล์
ข้อมูลที่จงใจนามาอ้างอิงไม่ครบ
ระหว่างข้อมูลสถิติที่อนุมานเอาและตัดตอนนามาเพื่อการอ้างอิงเพียงบางส่วน กับ ความจริงของอุตสาหกรรมไครโซไทล์ จะแสดงชัดเจนว่าในโลกเรายังมีการรับรู้ที่ผิดๆและการจงใจก่อให้เกิดความกลัวเกินจริงโดยนักรณรงค์การห้ามใช้แร่ใยหินทุกชนิดอย่างสิ้นเชิงที่คอยป้อนข้อมูลครึ่งจริงให้โดยไม่มีการแบ่งแยกความแตกต่างกันของแร่ใยหินแต่ละชนิด และไม่ได้พิจารณางานศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ดาเนินการวิจัยกันในทศวรรษที่ผ่านมา Read More
ตลอดหลายปีที่ผ่านมามีตัวอย่างงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ ในหลายประเทศ ที่ชี้ให้เห็นว่าไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ เมื่อนาแร่ไครไซไทล์มาใช้ในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมระดับการสัมผัสในปัจจุบัน (≤ 1 f/cc) เราขอให้ท่านสังเกตผลการวิจัยและข้อสรุปของงานวิจัยแต่ละชิ้นว่าตรงกันอย่างไร ซึ่งเป็นเพียงงานวิจัยบางส่วนเท่านั้น ส่วนข้อสรุปของงานวิจัยบางชิ้นที่นามาอ้างอิงสามารถอ่านได้ตั้งแต่หน้า 10 เป็นต้นไป Read More
ข้อมูลสถิติมักถูกใช้เพื่อทำนายเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นในเชิงปริมาณ ตามเกณฑ์ของการอนุมานจากข้อมูลในอดีต ในที่นี้ ทั้งคุณภาพและความเกี่ยวเนื่องของข้อมูลในอดีตดังกล่าวนั้นเป็นหัวใจสาคัญ ตัวอย่างหนึ่งของการใช้ข้อมูลในอดีตที่ไม่มีความน่าเชื่อถือและไม่เหมาะสม คือ การทำนายจานวนการเสียชีวิตที่เกี่ยวพันกับ “แร่ใยหิน” โดยนักวิชาโรคระบาดวิทยา จูเลี่ยน เพโต (Julian Peto) Read More
ข้อมูลสถิติการใช้และการใช้อย่างไม่ถูกต้อง
Jacques Dunnigan, Ph.D
ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา โลกถูกกระหน่าด้วยข้อมูลสถิติ ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็น “ซึนามิแห่งสถิติ” ซึ่งแทบทุกเรื่องและทุกหัวข้อถูกนามารวบรวมเป็นตัวเลข ที่บางคนเรียกวิธีการนี้ว่า “การโกงด้วยตัวเลข” Read More
ศูนย์ศึกษาข้อมูลไครโซไทล์
หน่วยงานที่อุทิศการทำงานเพื่อการเผยแพร่งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ข้อมูลข่าวสารด้านสังคม และเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับแร่ใยหินชนิดไครโซไทล์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประสานหน่วยงานราชการและผู้ประกอบการเพื่อให้มีการใช้งานอย่างปลอดภัยศูนย์ศึกษา Read More
1. The International Agency for Research on Cancer (IARC-WHO) ได้ให้การรับรองว่าใยหินเป็นสารเคมีก่อมะเร็งประเภท 1 ดังนั้นห้ามนำมาใช้ในทุกกรณี
ในอดีตการใช้ใยหินไม่ว่าชนิดใด วิธีการเป็นไปอย่างไม่ถูกต้อง รายงานนี้ทราบว่าใยหินถูกจัดเป็นสารก่อมะเร็งประเภท 1 เช่นเดียวกันกับแคดเมียม-โครเมียม สารนิเกิล ซิลิกา แสงจากดวงอาทิตย์ ไวนิลคลอไลด์ เครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ ปลาเค็ม ควันจากบุหรี่ ขี้เลื่อย กระบวนการผลิตและซ่อมรองเท้า/เครื่องเรือน กระบวนการหล่อเหล็กและเหล็กกล้า และอุตสาหกรรมยางhttp://monographs.iarc.fr/ENG/Classification/crthgr01.php
สิ่งที่ WHO ระบุคืออันตรายที่เกิดขึ้นไม่ใช่สิ่งของหรือสารนั้นๆ ดังนั้นไม่ได้หมายความว่าห้ามใช้ แต่เป็นการควบคุมการใช้ไม่ให้เกิดอันตรายที่ระบุต่างหาก Read More
กลุ่มผู้ที่ต่อต้านการใช้ใยหินได้แถลงว่าใยหินเป็นวัตถุสำคัญที่สุดที่ทำ ให้ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตถึง 100,000 คน แต่ละปี
ตัว เลข 100,000 เป็นตัวเลขที่เกินความเป็นจริงอย่างมาก ซึ่งน่าจะมากจากการนำเอาข้อมูลเพียงบางส่วนจากประเทศในยุโรปมาคาดการณ์เป็น ตัวเลขรวมทั้งโลกโดยไม่ได้พิจารณาข้อมูลประเภทของเส้นใย โครงสร้างปริมาณบริโภคโดยอุตสาหกรรมและเหตุการณ์ควบคุมการใช้ใยหินชนิด ต่างๆอย่างผิดพลาดในอดีต การคาดการณ์หรือทำนายตัวเลขด้วยวิธีง่ายๆลำพังเพียงอย่างเดียวจึงไม่ถูกต้อง ทำให้ได้ตัวเลขที่เกินความเป็นจริง
ตัว เลข 100,000 คนดังกล่าวนำมาจากรายงานชื่อ “The global burden of disease due to occupational carcinogens” ของ Driscollt และคณะ (2005) และรายงาน“Preliminary estimate calculated from table 21.16, p.1682-1683” ของ Concha-Barrien tos และคณะ (2004) ซึ่งความจริงแล้วผู้เขียนรายงานทั้ง 2 ท่านยอมรับว่าใยหิน2 กลุ่ม ไครโซไทล์และแอมฟิโบลมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันใน หน้า 1687 Read More
นับแต่ทศวรรษ1940 และอีก2-3 ทศวรรษต่อมามนุษย์เราได้นำเอาใยหินทุกชนิดมาใช้อย่างมากมายมหาศาลโดยไม่ระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดแก่สุขภาพส่งผลให้มีจำนวนคนงานนับล้านที่ได้รับฝุ่นใยหินปริมาณเกินมาตรฐานปลอดภัยเข้าไปในร่างกายปัจจุบันในประเทศยุโรปจึงมีผู้ที่ป่วยเป็นโรคเนื่องจากใยหินจำนวนมาก Read More
ประเภทของแร่ใยหิน
การที่แร่ใยหิน 2 กลุ่มมีคุณสมบัติแตกต่างกัน สาเหตุสำคัญเนื่องมาจากโครงสร้างของเส้นใย ดังนี้