1. จริงหรือไม่ที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศให้ยกเลิกการใช้แร่ไครโซไทล์
ไม่จริง ที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก (WHA) ซึ่งเป็นผู้กำหนดนโยบายขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แนะนำวิธีการและมีนโยบายที่แตกต่างกันตามแร่ใยหินแต่ละกลุ่ม Read More
ป้ายกำกับ: คุณประโยชน์ของแร่ไครโซไทล์
คำทำนายของจูเลี่ยน เพโต (JULIAN PETO) และ การตอบโต้คำทำนาย
จูเลี่ยน เพโต เป็นนักวิชาการโรคระบาดวิทยาชาวอังกฤษ ซึ่งในปี 1995 ได้ทาการประเมินทางสถิติถึงตัวเลขการเสียชีวิตอันเนื่องมาจากการเกี่ยวพันกับแร่ใยหิน โดยพิจารณาจากข้อมูลที่มีความสับสนมาก แต่ได้สร้างความกังวลไปทั่วโลกการประเมินได้เหมารวมแร่ใยหินทุกชนิดไว้ด้วยกัน โดยไม่ได้พิจารณาระดับความเสี่ยงของไครโซไทล์ ซึ่งมีการพิสูจน์อย่างน่าเชื่อถือแล้วว่าอยู่ในระดับที่ไม่มีความเสี่ยง คือ ต่ากว่า 1 เส้นใย/ลบ.ซม (1 f/cc.)
เสียชีวิต 100,000” สองถ้อยคำที่ทำลายอุตสาหกรรมไครไซไทล์
เสียชีวิต 100,000” สองถ้อยคำที่ทำลายอุตสาหกรรมไครไซไทล์ Read More
การใช้ข้อมูลบางส่วนในรายงาน CONCHA-BARRIENTOS (2004) เพื่อให้เกิดความเข้าใจผิด
ข้อมูลที่จงใจนามาอ้างอิงไม่ครบ
- กว่า 125 ล้านคนสัมผัสกับแร่ใยหินในสถานที่ทางาน จากการประเมินต่างๆ ในแต่ละปี ประชาชนอย่างน้อย 90,000 คน เสียชีวิตจากโรคมะเร็งที่แร่ใยหินนั้นมีส่วนมาเกี่ยวข้อง Read More
เราสามารถนำแร่ไครโซไทล์มาใช้ได้อย่างปลอดภัย
ตลอดหลายปีที่ผ่านมามีตัวอย่างงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ ในหลายประเทศ ที่ชี้ให้เห็นว่าไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ เมื่อนาแร่ไครไซไทล์มาใช้ในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมระดับการสัมผัสในปัจจุบัน (≤ 1 f/cc) เราขอให้ท่านสังเกตผลการวิจัยและข้อสรุปของงานวิจัยแต่ละชิ้นว่าตรงกันอย่างไร ซึ่งเป็นเพียงงานวิจัยบางส่วนเท่านั้น ส่วนข้อสรุปของงานวิจัยบางชิ้นที่นามาอ้างอิงสามารถอ่านได้ตั้งแต่หน้า 10 เป็นต้นไป Read More
คำอ้างลอยๆ ที่ว่า แร่ใยหิน (Asbestos): เป็นสาเหตุของ การเสียชีวิตถึง 100,000 ราย… ต่อปี เรื่องโกหก หรือ ความจริง?
ข้อมูลสถิติการใช้และการใช้อย่างไม่ถูกต้อง
Jacques Dunnigan, Ph.D
ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา โลกถูกกระหน่าด้วยข้อมูลสถิติ ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็น “ซึนามิแห่งสถิติ” ซึ่งแทบทุกเรื่องและทุกหัวข้อถูกนามารวบรวมเป็นตัวเลข ที่บางคนเรียกวิธีการนี้ว่า “การโกงด้วยตัวเลข” Read More
คำแนะนำที่แท้จริงจากสำนักเลขาธิการองค์การอนามัยโลก (WHO) ในการยกเลิกการใช้แร่ใยหิน (ASBESTOS)
ความเป็นมา
ที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก (WHA) เป็นผู้มีอำนาจในการตัดใจสูงสุดและกำหนดนโยบายขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกมติที่ 60.26 ในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 2007 ว่าด้วยการรณรงค์ระดับนานาชาติเพื่อกำจัดโรคที่เกิดจากแร่ใยหิน โดยให้ตระหนักถึงวิธีการที่หลากหลายเพื่อกำหนดกฏเกณฑ์ควบคุมแร่ใยหินที่แตกต่างกันตามแต่ละชนิด Read More
คำถามที่พบบ่อย
1 – เส้นใย ไครโซไทล์ คืออะไร
เส้นใยไครโซไทล์ เป็นเส้นใยประเภทหนึ่ง ของใยหินใยหินเป็นเส้นใยจากธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม มีคุณสมบัติทางเคมีต่างกันมาก ได้แก่
เส้นใยแอมฟิโบล เป็นเส้นใยเดี่ยวรูปทรงกระบอก มีคุณสมบัติความทนทานของเส้นใย (biopersistent) สูง ระยะเวลาย่อยสลาย 50% มากกว่า 900 วัน จึงเป็นอันตรายมาก
เส้นใยไครโซไทล์ เป็นเส้นใยยาวคล้ายเส้นไหม มีคุณสมบัติความทนทานของเส้นใย (biopersistent) ต่ำ ระยะเวลาย่อยสลาย 50% น้อยกว่า 14 วัน จึงเป็นอันตรายน้อยมาก Read More
สัมมนาเชิงวิชาการหัวข้อ “ไครโซไทล์ แร่ใยหินที่ไทยต้องชัดเจน”
เครือข่ายภาคประชาชน สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ มูลนิธิเพื่อคุณธรรม เครือข่ายชุมชนเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและเครือข่ายแรงงานผู้ได้รับผลกระทบจากการยกเลิกการใช้แร่ ไครโซไทล์ Read More
จริง
1. The International Agency for Research on Cancer (IARC-WHO) ได้ให้การรับรองว่าใยหินเป็นสารเคมีก่อมะเร็งประเภท 1 ดังนั้นห้ามนำมาใช้ในทุกกรณี
ในอดีตการใช้ใยหินไม่ว่าชนิดใด วิธีการเป็นไปอย่างไม่ถูกต้อง รายงานนี้ทราบว่าใยหินถูกจัดเป็นสารก่อมะเร็งประเภท 1 เช่นเดียวกันกับแคดเมียม-โครเมียม สารนิเกิล ซิลิกา แสงจากดวงอาทิตย์ ไวนิลคลอไลด์ เครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ ปลาเค็ม ควันจากบุหรี่ ขี้เลื่อย กระบวนการผลิตและซ่อมรองเท้า/เครื่องเรือน กระบวนการหล่อเหล็กและเหล็กกล้า และอุตสาหกรรมยางhttp://monographs.iarc.fr/ENG/Classification/crthgr01.php
สิ่งที่ WHO ระบุคืออันตรายที่เกิดขึ้นไม่ใช่สิ่งของหรือสารนั้นๆ ดังนั้นไม่ได้หมายความว่าห้ามใช้ แต่เป็นการควบคุมการใช้ไม่ให้เกิดอันตรายที่ระบุต่างหาก Read More