แร่ใยหิน

บทเรียนราคาแพง!! เกษตรกรอังกฤษอ่วม สูญ 6 พันล้านปอนด์ ยกเลิกแร่ใยหิน

บทเรียนราคาแพง!! เกษตรกรอังกฤษอ่วมสูญ 6 พันล้านปอนด์ ยกเลิกแร่ใยหิน

“ตอนประกาศยกเลิกการใช้แร่ใยหินเมื่อสิบปีที่แล้ว พวกเราคิดว่ามันไมได้มีผลอะไรกับพวกเรา แต่ตอนนี้ มันได้สร้างความสูญเสียอย่างมากมาย จึงไม่อยากให้เกษตรกรไทยผิดพลาดเช่นนี้อีก” มร.ไบรอัน เอดจ์ลี ประธานกลุ่มสหภาพเกษตรกรแห่งชาติฯ Read More

Please follow and like us:
สกู๊ปหน้า 1 ไครโซไทล์ กรณีศึกษาในต่างแดน

บทเรียนเลิกใช้แร่ใยหินเมืองผู้ดี

จากมติคณะรัฐมนตรี 12 เมษายน 2554 ได้เห็นชอบในหลักการตามข้อเสนอของสมัชชาสุขภาพให้ “สังคมไทยปลอดใยหิน” โดยให้ยกเลิกการใช้สินค้า และการนำเข้าผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของแร่ใยหินไครโซไทล์ ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตกระเบื้องซีเมนต์ความดันสูง หรือกระเบื้องใยหิน เช่น ผลิตภัณฑ์กระเบื้องลอนคู่ กระเบื้องแผ่นเรียบ กระเบื้องวีนิวล์ปูพื้น รวมถึงท่อซีเมนต์ Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

เราสามารถนำแร่ไครโซไทล์มาใช้ได้อย่างปลอดภัย

ตลอดหลายปีที่ผ่านมามีตัวอย่างงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ ในหลายประเทศ ที่ชี้ให้เห็นว่าไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ เมื่อนาแร่ไครไซไทล์มาใช้ในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมระดับการสัมผัสในปัจจุบัน (≤ 1 f/cc) เราขอให้ท่านสังเกตผลการวิจัยและข้อสรุปของงานวิจัยแต่ละชิ้นว่าตรงกันอย่างไร ซึ่งเป็นเพียงงานวิจัยบางส่วนเท่านั้น ส่วนข้อสรุปของงานวิจัยบางชิ้นที่นามาอ้างอิงสามารถอ่านได้ตั้งแต่หน้า 10 เป็นต้นไป Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

การทำนายของเพโต : การใช้ข้อมูลผิดๆ และผลกระทบต่อความเข้าใจของสาธารณชน

ข้อมูลสถิติมักถูกใช้เพื่อทำนายเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นในเชิงปริมาณ ตามเกณฑ์ของการอนุมานจากข้อมูลในอดีต ในที่นี้ ทั้งคุณภาพและความเกี่ยวเนื่องของข้อมูลในอดีตดังกล่าวนั้นเป็นหัวใจสาคัญ ตัวอย่างหนึ่งของการใช้ข้อมูลในอดีตที่ไม่มีความน่าเชื่อถือและไม่เหมาะสม คือ การทำนายจานวนการเสียชีวิตที่เกี่ยวพันกับ “แร่ใยหิน” โดยนักวิชาโรคระบาดวิทยา จูเลี่ยน เพโต (Julian Peto) Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

คำอ้างลอยๆ ที่ว่า แร่ใยหิน (Asbestos): เป็นสาเหตุของ การเสียชีวิตถึง 100,000 ราย… ต่อปี เรื่องโกหก หรือ ความจริง?

ข้อมูลสถิติการใช้และการใช้อย่างไม่ถูกต้อง

Jacques Dunnigan, Ph.D

ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา โลกถูกกระหน่าด้วยข้อมูลสถิติ ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็น “ซึนามิแห่งสถิติ” ซึ่งแทบทุกเรื่องและทุกหัวข้อถูกนามารวบรวมเป็นตัวเลข ที่บางคนเรียกวิธีการนี้ว่า “การโกงด้วยตัวเลข” Read More

Please follow and like us:
ประชาชนในเมืองต่างยินดีกับการกลับมาของเหมืองใยหิน

ประชาชนในเมืองต่างยินดีกับการกลับมาของเหมืองใยหิน

รอคอย: Marc Lalonde หนึ่งในบรรดาชาวเมืองแอสเบสตอส (Asbestos) ที่ตื่นเต้นกับการที่เหมืองเจฟฟรี (Jeffrey Mine) จะกลับมาเปิดตัวอีกครั้งหนึ่ง ร่วมบาร์บีคิวสังสรรค์กับครอบครัว
มันอาจจะเป็นสารก่อมะเร็ง และเป็นสิ่งที่น่ากลัวสำหรับที่อื่น แต่แร่ใยหินมีความหมายว่างานและความมั่นคงของเมืองนี้ ที่ที่ทุกคนรู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี ในตอนนี้เงินกู้ได้รับการอนุมัติ และทุกๆคนก็พร้อมที่จะกลับไปทำงาน
การที่รัฐบาลเมืองควิเบคเป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้ได้ให้เงินกู้ให้กับ Balcorp Ltd. เป็นเงิน 58 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อที่จะได้เปิดกิจการขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ได้รับการมองว่าเป็นการลงทุนที่ดี Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

คำถามที่พบบ่อย

1 – เส้นใย ไครโซไทล์ คืออะไร

เส้นใยไครโซไทล์ เป็นเส้นใยประเภทหนึ่ง ของใยหินใยหินเป็นเส้นใยจากธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม มีคุณสมบัติทางเคมีต่างกันมาก ได้แก่

เส้นใยแอมฟิโบล เป็นเส้นใยเดี่ยวรูปทรงกระบอก มีคุณสมบัติความทนทานของเส้นใย (biopersistent) สูง ระยะเวลาย่อยสลาย 50% มากกว่า 900 วัน จึงเป็นอันตรายมาก
เส้นใยไครโซไทล์ เป็นเส้นใยยาวคล้ายเส้นไหม มีคุณสมบัติความทนทานของเส้นใย (biopersistent) ต่ำ ระยะเวลาย่อยสลาย 50% น้อยกว่า 14 วัน จึงเป็นอันตรายน้อยมาก Read More

Please follow and like us:
สัมมนาเชิงวิชาการหัวข้อ “ไครโซไทล์ แร่ใยหินที่ไทยต้องชัดเจน”

สัมมนาเชิงวิชาการหัวข้อ “ไครโซไทล์ แร่ใยหินที่ไทยต้องชัดเจน”

เครือข่ายภาคประชาชน สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ มูลนิธิเพื่อคุณธรรม เครือข่ายชุมชนเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและเครือข่ายแรงงานผู้ได้รับผลกระทบจากการยกเลิกการใช้แร่ ไครโซไทล์ Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

“อุฬาร” ยันแร่ใยหิน “ไครโซไทล์” ไม่ก่อมะเร็ง โวย “สคบ.” บังคับติดฉลากอันตราย

ผู้บริหาร “กระเบื้องโอฬาร” ยืนยัน “แร่ใยหินไครโซไทล์” ไม่ใช่สารก่อมะเร็ง เพราะสามารถสลายในร่างกายมนุษย์ได้ภายใน 14 วัน แต่ชนิดแอมฟิโบลที่ก่อมะเร็ง ได้เลิกขุดมาผลิตมานานถึง 40 ปีแล้ว ลั่นฟ้องศาลปกครองหาก สคบ. บังคับให้ติดฉลากระวังสินค้า เนื่องจากผลพิสูจน์ชัดเจนแล้วว่า เป็นแร่ใยหินคนละชนิดกัน Read More

Please follow and like us: