ปัจจุบันผู้คนทั่วโลกเรียกร้องให้เลิกใช้ใยหิน ดังนั้นจึงไม่ควรขัดขืน รวมทั้งบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิก็เรียกร้องให้เลิกใช้ด้วยเช่นกัน
บุคคลกลุ่มนี้เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์อันสั้น วัตถุประสงค์ย่อมสั้นตาม เหตุผลที่ยกมาอ้างก็สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของตน จะอ้างว่าตนเป็นตัวแทนของบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิและองค์กร/สถาบันระดับสากลไม่ได้ เหตุใด Read More
ป้ายกำกับ: Amphibole asbestos
ความแตกต่างของผลกระทบทางสุขภาพจากเส้นใยชนิดต่างๆ
ฝุ่นใยหินชนิดอะโมไซท์และโครซิโดไลท์เมื่อเข้าไปในปอดเปรียบเทียบกับเส้น ใยไครโซไทล์ โอกาสเกิดโรคจะมีมากกว่า 100 และ 500 เท่าตามลำดับ สำหรับโรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอด และมากกว่า 10 และ 50 เท่า ตามลำดับ สำหรับมะเร็งปอด การที่อันตรายมาก-น้อยต่างกันสาเหตุเนื่องมาจากโครงสร้างและความ สามารถในการละลายตัว (biodurability) ของเส้นใยหินแต่ละชนิด ดังมีข้อความในรายงานของ EPA ตอนหนึ่งที่ยกมาแสดงข้างใต้ Read More
ทราบหรือไม่ว่า
1. ในประเทศไทยผลิตภัณฑ์ที่ใช้ใยหินเป็นส่วนผสมคือเส้นใยไครโซไทล์เท่านั้น
2. ปริมาณเส้นใยไครโซไทล์ในซีเมนต์จะเพียง8-9% และฝังอยู่ในเนื้อซีเมนต์ไม่ฟุ้งกระจายออกมาภายนอก Read More
บทเรียนราคาแพง!! เกษตรกรอังกฤษอ่วม สูญ 6 พันล้านปอนด์ ยกเลิกแร่ใยหิน
บทเรียนราคาแพง!! เกษตรกรอังกฤษอ่วมสูญ 6 พันล้านปอนด์ ยกเลิกแร่ใยหิน
“ตอนประกาศยกเลิกการใช้แร่ใยหินเมื่อสิบปีที่แล้ว พวกเราคิดว่ามันไมได้มีผลอะไรกับพวกเรา แต่ตอนนี้ มันได้สร้างความสูญเสียอย่างมากมาย จึงไม่อยากให้เกษตรกรไทยผิดพลาดเช่นนี้อีก” มร.ไบรอัน เอดจ์ลี ประธานกลุ่มสหภาพเกษตรกรแห่งชาติฯ Read More
สมาคมผู้เลี้ยงสุกรค้านยกเลิกใช้แร่ใยหิน
สมาคมผู้เลี้ยงสุกร ห่วงการเลิกใช้แร่ใยหินไครโซไทล์ หวั่นกระทบคนจนและเกษตรกร ที่ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายมหาศาล ในขณะที่แพทย์ผู้เชี่ยวชาญยืนยันไม่พบปัญหาสุขภาพและการเสียชีวิตจากแร่ใยหินไครโซไทล์ในไทย
Read More
บทเรียนเลิกใช้แร่ใยหินเมืองผู้ดี
จากมติคณะรัฐมนตรี 12 เมษายน 2554 ได้เห็นชอบในหลักการตามข้อเสนอของสมัชชาสุขภาพให้ “สังคมไทยปลอดใยหิน” โดยให้ยกเลิกการใช้สินค้า และการนำเข้าผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของแร่ใยหินไครโซไทล์ ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตกระเบื้องซีเมนต์ความดันสูง หรือกระเบื้องใยหิน เช่น ผลิตภัณฑ์กระเบื้องลอนคู่ กระเบื้องแผ่นเรียบ กระเบื้องวีนิวล์ปูพื้น รวมถึงท่อซีเมนต์ Read More
ดร.เดวิด เบอร์นสตีน และ ศ.ดร.นพ.สมชัย บวรกิตติ เปิดหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดเกี่ยวกับแร่ไครโซไทล์
ดร.เดวิด เบอร์นสตีน และ ศ.ดร.นพ.สมชัย บวรกิตติ เปิดหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดเกี่ยวกับแร่ไครโซไทล์
เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2554 สถาบันไครโซไทล์และศูนย์ข้อมูลไครโซไทล์ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ‘ทัศนะทางวิทยาศาสตร์เรื่องแร่ไครโซไทล์: หลักฐานล่าสุด และกรณีศึกษาระเบียบการควบคุมที่ดีในต่างประเทศ’ Read More
คำถามที่พบบ่อย 2
1. จริงหรือไม่ที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศให้ยกเลิกการใช้แร่ไครโซไทล์
ไม่จริง ที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก (WHA) ซึ่งเป็นผู้กำหนดนโยบายขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แนะนำวิธีการและมีนโยบายที่แตกต่างกันตามแร่ใยหินแต่ละกลุ่ม Read More
ข้อมูลสถิติ VS การรับรู้
แนวคิดค่าเริ่มต้น…
งานศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์มักอ้างอิงถึงระดับการสัมผัสที่ต่ากว่าระดับที่ไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ นักรณรงค์การห้ามใช้แร่ใยหินบางคนปฏิเสธที่รับรู้ข้อเท็จจริงนี้ และไม่ยอมรับความจริงเรื่องระดับความเข้มข้นและชนิดของแร่ใยหิน แต่สรุปความเห็นเอาเองว่าความเสี่ยงนั้นเท่าๆกัน ซึ่งขัดแย้งกับความคิดเห็นที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง
ตามที่ระบุในงานศึกษาวิจัยด้านโรคระบาดวิทยา รวมทั้งงานวิจัยที่ได้ระบุไว้ข้างต้นนี้ คนงานที่สัมผัสกับไครโซไทล์ที่ประมาณ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. นั้นไม่มีความเสี่ยง ถ้าปฏิบัติตามมาตรฐานนี้ ไครโซไทล์นั้นไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ Read More
งานศึกษาวิจัยชิ้นต่างๆที่ได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้วในช่วงประมาณสามสิบปี ต่างสรุปว่าไม่สามารถวัดระดับความเสี่ยง ที่เกิดจากการใช้ไครโซไทล์ได้
งานศึกษาวิจัยชิ้นต่างๆที่ได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้วในช่วงประมาณสามสิบปี ต่างสรุปว่าไม่สามารถวัดระดับความเสี่ยง ที่เกิดจากการใช้ไครโซไทล์ได้ เมื่อระดับความเข้มข้นในอากาศอยู่ในระดับมาตรฐาน คือ ≤ 1 เส้นใย / ลบ.ซม. (≤ 1FIBER /CC)
ซึ่งข้อสรุปของนักวิทยาศาสตร์เหล่านี้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน Read More