Weissได้ทำการศึกษาทบทวนงานของ Yarborough (2006) พบว่าในโรงงานที่ใช้เส้นใยไครโซไทล์เพียงอย่างเดียวคนงานจะไม่เป็นโรค มะเร็งปอด ดังนี้
“การที่คนงานชายป่วยเป็นโรคมะเร็งปอดเพิ่มมากขึ้นในระยะหลายปีมานี้ แน่ชัดว่าสาเหตุเป็นเพราะมีฝุ่นใยหินเล็ดลอดเข้าไปในร่างกาย และเป็นชนิดแอมฟิโบล (โครซิโดไลท์และอะมอไซท์) ซึ่งถูกนำมาใช้ปริมาณมากที่สุดในช่วงทศวรรษ 1960 (หลังจากนั้นจึงลดลง) ในประเทศอื่น ปรากฏว่าจำนวนผู้ที่เสียชีวิตด้วยโรคนี้มีเพิ่มขึ้น อาจเป็นเพราะว่ามีการใช้ใยหินแอมฟิโบลสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดโครซิโดไลท์ ข้อมูลของเหตุการณ์ ประเทศสหรัฐอเมริกาได้นำมาใช้ประโยชน์ ผลก็คือ จำนวนคนงานที่ป่วยเป็นโรคนี้ลดจำนวนลง ตรงข้ามกันกับที่มีผู้กลัวว่าจำนวนผู้ป่วยจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคตทั้งสั้น และยาว Read More
ป้ายกำกับ: Amphibole asbestos
การแพร่กระจาย
จาก การศึกษาด้านนี้โดย Liddell, McDonald & McDonald (1997) แสดงว่าในปัจจุบันซึ่งมีการควบคุมปริมาณฝุ่นเส้นใยในโรงงาน (~ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. x 8 ชม.) จำนวนของผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากฝุ่นใยหินไม่มีการเพิ่มสูงขึ้น (เฉพาะโรงงานที่ใช้เส้นใย ไครโซไทล์)
วันที่ 19 ตุลาคม 2006 IARC ได้เสนอบทความในวารสาร “Occupational exposure to asbestos and man-made vitreous fibres and risk of lung cancer: a multicentercase-control study in Europe,” Read More
ความคงทนทางชีวภาพ
“จากการศึกษาเส้นใย ไครโซไทล์พบว่าสามารถย่อยสลายได้โดยไม่ยากในปอดเส้นใยชนิดนี้เป็นเส้นใยธรรมชาติและความสามารถในการย่อยสลายปรากฏว่ามีแตกต่างกันบ้างขึ้นอยู่กับแหล่งกำเนิดอย่างไรก็ดีค่าความสามารถในการย่อยสลายจะอยู่ประมาณตำแหน่งปลายๆ(สามารถย่อยสลายได้ดี) โดยพิสัยจะประมาณใกล้เคียงกับเส้นใยแก้วและหินที่ค่าสุดท้ายเส้นใย ไครโซไทล์จะย่อยสลายได้ง่ายกว่าเส้นใยเซรามิกส์เส้นใยแก้วชนิดพิเศษและเส้นใยหินชนิดแอมฟิโบล Read More
โรคที่เกิดจากใยหิน: ข้อเท็จจริง
กลุ่มผู้ที่ต่อต้านการใช้ใยหินได้แถลงว่าใยหินเป็นวัตถุสำคัญที่สุดที่ทำ ให้ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตถึง 100,000 คน แต่ละปี
ตัว เลข 100,000 เป็นตัวเลขที่เกินความเป็นจริงอย่างมาก ซึ่งน่าจะมากจากการนำเอาข้อมูลเพียงบางส่วนจากประเทศในยุโรปมาคาดการณ์เป็น ตัวเลขรวมทั้งโลกโดยไม่ได้พิจารณาข้อมูลประเภทของเส้นใย โครงสร้างปริมาณบริโภคโดยอุตสาหกรรมและเหตุการณ์ควบคุมการใช้ใยหินชนิด ต่างๆอย่างผิดพลาดในอดีต การคาดการณ์หรือทำนายตัวเลขด้วยวิธีง่ายๆลำพังเพียงอย่างเดียวจึงไม่ถูกต้อง ทำให้ได้ตัวเลขที่เกินความเป็นจริง
ตัว เลข 100,000 คนดังกล่าวนำมาจากรายงานชื่อ “The global burden of disease due to occupational carcinogens” ของ Driscollt และคณะ (2005) และรายงาน“Preliminary estimate calculated from table 21.16, p.1682-1683” ของ Concha-Barrien tos และคณะ (2004) ซึ่งความจริงแล้วผู้เขียนรายงานทั้ง 2 ท่านยอมรับว่าใยหิน2 กลุ่ม ไครโซไทล์และแอมฟิโบลมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันใน หน้า 1687 Read More
สาเหตุความกังวลของประชาชน
นับแต่ทศวรรษ1940 และอีก2-3 ทศวรรษต่อมามนุษย์เราได้นำเอาใยหินทุกชนิดมาใช้อย่างมากมายมหาศาลโดยไม่ระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดแก่สุขภาพส่งผลให้มีจำนวนคนงานนับล้านที่ได้รับฝุ่นใยหินปริมาณเกินมาตรฐานปลอดภัยเข้าไปในร่างกายปัจจุบันในประเทศยุโรปจึงมีผู้ที่ป่วยเป็นโรคเนื่องจากใยหินจำนวนมาก Read More
ข้อแนะนำในการใช้งานอย่างถูกต้องในอุตสาหกรรม
ผลิตภัณฑ์กระเบื้องซีเมนต์เส้นใย ประกอบด้วย ปูนซีเมนต์ 90% เส้นใยใครโซไทท์ 10% ส่วนผสมปูนซีเมนต์จะยึดเกาะ
เส้นใยไว้ภายในเป็นเนื้อเดียวกัน
ควรเลือกใช้ผลิตภัณฑ์กระเบื้องที่พร้อมใช้งาน โดยมีการตัดมุมหรือเจาะรูสำเร็จมาจากโรงงาน
อย่างไรก็ดี เมื่อมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องมือในการตัด เจาะ เพื่อการติดตั้งกระเบื้องซีเมนต์เส้นใยในสถาน
ที่ก่อสร้าง มีคำแนะนำให้ลดการเกิดฝุ่น และป้องกันการหายใจเอาฝุ่นเข้าร่างกายเพื่อความปลอดภัยของช่างที่ทำงานดังนี้ Read More
ข้อแนะนำในการใช้งานอย่างถูกต้องของผู้บริโภค
Chrysotile containing products in a household
In reality vast majority of asbestos containing products in Thailand are high density chrysotile cement roofing sheets, shingles and siding that used outside of home. There is no evidence that people living under chrysotile cement roof have been specifically affected in any manner. These products are not likely to release chrysotile fibres unless sawed, drilled, or cut. Read More
เครือข่ายภาคประชาชนเรียกร้องภาครัฐฯ ทบทวนการยกเลิกการใช้แร่ไครโซไทล์
เครือข่ายภาคประชาชน สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ มูลนิธิเพื่อคุณธรรม เครือข่ายชุมชนเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและเครือข่ายแรงงานผู้ได้รับผลกระทบจากการยกเลิกการใช้แร่ ไครโซไทล์ ร่วมกับ วิทยุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ร่วมกันจัดสัมมนาเชิงวิชาการหัวข้อ “ไครโซไทล์ แร่ใยหินที่ไทยต้องชัดเจน” เพื่อเป็นเวทีในการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องแร่ไครโซไทล์ พร้อมเรียกร้องให้รัฐบาลและผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อประชาชนทั้งทางด้านสังคมและเศรษฐกิจที่จะตามมาหากมีการยกเลิกการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของแร่ไครโซไทล์ Read More