Chrysotile แร่ใยหิน

ข้อมูลทางเศรษฐกิจ

การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ

เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแนวทางในการห้ามนำเข้าแร่ใยหินไครโซไทล์ และผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์เฉพาะกรณี และห้ามผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์ที่ใช้วัตถุดิบอื่นหรือผลิตภัณฑ์อื่นทดแทนได้ โดยได้มอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรมรับไปจัดทำแผน แล้วนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป  Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

มะเร็งเยื่อหุ้มปอด (เมโสเธลิโอมา)

Weissได้ทำการศึกษาทบทวนงานของ Yarborough (2006) พบว่าในโรงงานที่ใช้เส้นใยไครโซไทล์เพียงอย่างเดียวคนงานจะไม่เป็นโรค มะเร็งปอด ดังนี้
“การที่คนงานชายป่วยเป็นโรคมะเร็งปอดเพิ่มมากขึ้นในระยะหลายปีมานี้ แน่ชัดว่าสาเหตุเป็นเพราะมีฝุ่นใยหินเล็ดลอดเข้าไปในร่างกาย และเป็นชนิดแอมฟิโบล (โครซิโดไลท์และอะมอไซท์) ซึ่งถูกนำมาใช้ปริมาณมากที่สุดในช่วงทศวรรษ 1960 (หลังจากนั้นจึงลดลง) ในประเทศอื่น ปรากฏว่าจำนวนผู้ที่เสียชีวิตด้วยโรคนี้มีเพิ่มขึ้น อาจเป็นเพราะว่ามีการใช้ใยหินแอมฟิโบลสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดโครซิโดไลท์ ข้อมูลของเหตุการณ์ ประเทศสหรัฐอเมริกาได้นำมาใช้ประโยชน์ ผลก็คือ จำนวนคนงานที่ป่วยเป็นโรคนี้ลดจำนวนลง ตรงข้ามกันกับที่มีผู้กลัวว่าจำนวนผู้ป่วยจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคตทั้งสั้น และยาว Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

การแพร่กระจาย

จาก การศึกษาด้านนี้โดย Liddell, McDonald & McDonald (1997) แสดงว่าในปัจจุบันซึ่งมีการควบคุมปริมาณฝุ่นเส้นใยในโรงงาน (~ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. x 8 ชม.) จำนวนของผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากฝุ่นใยหินไม่มีการเพิ่มสูงขึ้น (เฉพาะโรงงานที่ใช้เส้นใย ไครโซไทล์)

วันที่ 19 ตุลาคม 2006 IARC ได้เสนอบทความในวารสาร “Occupational exposure to asbestos and man-made vitreous fibres and risk of lung cancer: a multicentercase-control study in Europe,” Read More

Please follow and like us:
แร่ใยหิน ไครโซไทล์

ความคงทนทางชีวภาพ

“จากการศึกษาเส้นใย ไครโซไทล์พบว่าสามารถย่อยสลายได้โดยไม่ยากในปอดเส้นใยชนิดนี้เป็นเส้นใยธรรมชาติและความสามารถในการย่อยสลายปรากฏว่ามีแตกต่างกันบ้างขึ้นอยู่กับแหล่งกำเนิดอย่างไรก็ดีค่าความสามารถในการย่อยสลายจะอยู่ประมาณตำแหน่งปลายๆ(สามารถย่อยสลายได้ดี) โดยพิสัยจะประมาณใกล้เคียงกับเส้นใยแก้วและหินที่ค่าสุดท้ายเส้นใย ไครโซไทล์จะย่อยสลายได้ง่ายกว่าเส้นใยเซรามิกส์เส้นใยแก้วชนิดพิเศษและเส้นใยหินชนิดแอมฟิโบล Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์

ประเทศไทย

ประเทศไทยได้นำเข้าใยหินจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลานานกว่า 70 ปี โดยส่วนใหญ่จะเป็นชนิดเส้นใย ไครโซไทล์ ส่วนใยหินโครซิโดไลท์ทางการได้สั่งห้ามนำเข้า ตามพ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (1992) ปัจจุบันจึงมีเพียงเส้นใย ไครโซไทล์ Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ศูนย์ศึกษาข้อมูลไครโซไทล์

ศูนย์ศึกษาข้อมูลไครโซไทล์

หน่วยงานที่อุทิศการทำงานเพื่อการเผยแพร่งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ข้อมูลข่าวสารด้านสังคม และเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับแร่ใยหินชนิดไครโซไทล์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประสานหน่วยงานราชการและผู้ประกอบการเพื่อให้มีการใช้งานอย่างปลอดภัยศูนย์ศึกษา Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

จริง

1. The International Agency for Research on Cancer (IARC-WHO) ได้ให้การรับรองว่าใยหินเป็นสารเคมีก่อมะเร็งประเภท 1 ดังนั้นห้ามนำมาใช้ในทุกกรณี

ในอดีตการใช้ใยหินไม่ว่าชนิดใด วิธีการเป็นไปอย่างไม่ถูกต้อง รายงานนี้ทราบว่าใยหินถูกจัดเป็นสารก่อมะเร็งประเภท 1 เช่นเดียวกันกับแคดเมียม-โครเมียม สารนิเกิล ซิลิกา แสงจากดวงอาทิตย์ ไวนิลคลอไลด์ เครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ ปลาเค็ม ควันจากบุหรี่ ขี้เลื่อย กระบวนการผลิตและซ่อมรองเท้า/เครื่องเรือน กระบวนการหล่อเหล็กและเหล็กกล้า และอุตสาหกรรมยางhttp://monographs.iarc.fr/ENG/Classification/crthgr01.php

สิ่งที่ WHO ระบุคืออันตรายที่เกิดขึ้นไม่ใช่สิ่งของหรือสารนั้นๆ ดังนั้นไม่ได้หมายความว่าห้ามใช้ แต่เป็นการควบคุมการใช้ไม่ให้เกิดอันตรายที่ระบุต่างหาก Read More

Please follow and like us:

โรคที่เกิดจากใยหิน: ข้อเท็จจริง

กลุ่มผู้ที่ต่อต้านการใช้ใยหินได้แถลงว่าใยหินเป็นวัตถุสำคัญที่สุดที่ทำ ให้ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตถึง 100,000 คน แต่ละปี

ตัว เลข 100,000 เป็นตัวเลขที่เกินความเป็นจริงอย่างมาก ซึ่งน่าจะมากจากการนำเอาข้อมูลเพียงบางส่วนจากประเทศในยุโรปมาคาดการณ์เป็น ตัวเลขรวมทั้งโลกโดยไม่ได้พิจารณาข้อมูลประเภทของเส้นใย โครงสร้างปริมาณบริโภคโดยอุตสาหกรรมและเหตุการณ์ควบคุมการใช้ใยหินชนิด ต่างๆอย่างผิดพลาดในอดีต การคาดการณ์หรือทำนายตัวเลขด้วยวิธีง่ายๆลำพังเพียงอย่างเดียวจึงไม่ถูกต้อง ทำให้ได้ตัวเลขที่เกินความเป็นจริง
ตัว เลข 100,000 คนดังกล่าวนำมาจากรายงานชื่อ “The global burden of disease due to occupational carcinogens” ของ Driscollt และคณะ (2005) และรายงาน“Preliminary estimate calculated from table 21.16, p.1682-1683” ของ Concha-Barrien tos และคณะ (2004) ซึ่งความจริงแล้วผู้เขียนรายงานทั้ง 2 ท่านยอมรับว่าใยหิน2 กลุ่ม ไครโซไทล์และแอมฟิโบลมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันใน หน้า 1687  Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

สาเหตุความกังวลของประชาชน

นับแต่ทศวรรษ1940 และอีก2-3 ทศวรรษต่อมามนุษย์เราได้นำเอาใยหินทุกชนิดมาใช้อย่างมากมายมหาศาลโดยไม่ระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดแก่สุขภาพส่งผลให้มีจำนวนคนงานนับล้านที่ได้รับฝุ่นใยหินปริมาณเกินมาตรฐานปลอดภัยเข้าไปในร่างกายปัจจุบันในประเทศยุโรปจึงมีผู้ที่ป่วยเป็นโรคเนื่องจากใยหินจำนวนมาก Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

“อุฬาร” ยันแร่ใยหิน “ไครโซไทล์” ไม่ก่อมะเร็ง โวย “สคบ.” บังคับติดฉลากอันตราย

ผู้บริหาร “กระเบื้องโอฬาร” ยืนยัน “แร่ใยหินไครโซไทล์” ไม่ใช่สารก่อมะเร็ง เพราะสามารถสลายในร่างกายมนุษย์ได้ภายใน 14 วัน แต่ชนิดแอมฟิโบลที่ก่อมะเร็ง ได้เลิกขุดมาผลิตมานานถึง 40 ปีแล้ว ลั่นฟ้องศาลปกครองหาก สคบ. บังคับให้ติดฉลากระวังสินค้า เนื่องจากผลพิสูจน์ชัดเจนแล้วว่า เป็นแร่ใยหินคนละชนิดกัน Read More

Please follow and like us: